My living room

Our loss is our gain

Friday, September 23, 2005

"THIS IS ISLAM....."













People of the world.....
Do you know the truth about..... Islam?
Or do you think it's about
Bombing planes and killing innocent people.....?
Terrorism Forget about the lies.....
I' am here to tell you how it really is.....
You deserve to know the truth
About this beautiful way of life.....
Family People of the world

Islam is all about peace
Terrorism it doesn't teach
Its all about love and family and charity
And praying to one God

This is Islam
It's something you should know.....
I know it's really helped me grow
It does away with greed, filth, arrogance
And teaches us morality
A perfect way to live.....

Praying So don't believe all you see and hear
Too many people wear a title of a Muslim.....
But they don't practice Islam.....
People of the world

Islam is all about peace
Terrorism it doesn't teach
Its all about love and family and charity
And praying to one God

This is Islam
Peace And it teaches us the creator's made this life
for us a test.....
And if we follow truth and do good deeds, He'll reward
us in the Next.....
If we remember God & teach each other the truth and
patience in His way
Together we can live.....in peace.....
This is Islam

".....Whosoever killeth a human being..... it shall be
as if he had killed all mankind, and whose saveth the
life of one, it shall be as if he had saved the lifeof all mankind." (The Holy Qur'an, 5:32)".....
Even a smile can be charity....." (Holy ProphetMuhammad, Peace be upon him)

Thursday, September 22, 2005

‘สงครามและการเมือง’ ปฐมเหตุการลี้ภัยของมาลายูมุสลิม


โดย อารีฟิน บินจิ

เมื่อปลายเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ชาวมาลายูมุสลิมจากหลายอำเภอในจังหวัดนราธิวาส จำนวน 131 คน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ต่างอพยพลี้ภัยไปยังรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย กลายเป็นประเด็นร้อนที่ทั่วโลก สนใจ

การอพยพของชาวมาลายูปัตตานี มิใช่เรื่องใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้น แต่ในอดีตนั้นเคยมีมาอย่างต่อเนื่อง

นับแต่สมัยสุลต่านอะหมัด ได้รับสถาปนาเป็นสุลต่านปัตตานีเมื่อปี 1776 (พ.ศ.2319) และได้เสียชีวิตจากสงคราม ปี ค.ศ 1785 (พ.ศ.2328) ผลของสงครามชาวมาลายูถูกกวาดต้อนเข้าสู่บางกอกกว่า 4,000 คน ในขณะที่อีกส่วนหนึ่งประมาณ 20,000 คน ก็อพยพลี้ภัยไปยังดินแดนเมืองมาลายูที่เป็นเพื่อนบ้าน จนมีการกล่าวกันว่ายุคนั้น ผู้ชาย แม้จะเชือดไก่ทำแกงก็ไม่มี(เพราะตายในสงครามและอพยพลี้ภัย)

เมื่อต้นเดือนสิงหาคมนี้ ผู้เขียนได้ไปประชุมเรื่องปัญหาชายแดนที่ประเทศมาเลเซีย ได้พบวารสารที่ชื่อว่า Agama & Falsafah หรือแปลเป็นไทยว่า วารสาร “ ศาสนา และปรัชญา” ประจำเดือน กรกฎาคม 2005 ก่อนเหตุการณ์อพยพที่นราธิวาส หน้าปกเป็นภาพของชายโพกศีรษะซึ่งเป็นแบบอย่างของ “โต๊ะครู” มีชื่อเรื่องข้างๆว่า “Tuan Guru Haji Husien Penggerak Latihan Untuk Pejuang Pattani” หรือแปลเป็นภาษาไทยว่า “ต่วนฆูรู ฮัจญีฮุสเซ็น ผู้นำการต่อสู้เพื่อชาวปัตตานี”โดย Ramli Abdul Halim เป็นผู้เขียน

จึงขอสรุป ส่วนที่น่าสนใจของวารสารดังกล่าวมานำเสนอ ณ ที่นี้

...การตกอยู่ภายใต้สยามของปัตตานีในปี พ.ศ.2328 มาจากความพยายามของสยามเมื่อก่อนหน้านั้น จนถึงครั้งนี้รวมห้าครั้ง(ปี พ.ศ.2146 2175 2176 และ 2181)

ในคราวนั้น ได้มีการอพยพของบรรดาชาวปัตตานี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบรรดาอาลิม อูลามาอฺ หรือโต๊ะครู ซึ่งเป็นทั้งผู้นำศาสนาผู้ให้การศึกษาแก่ชุมชน และบางทีก็เป็นผู้นำการต่อสู้ ในหมู่นักต่อสู้ชาวมุสลิมปัตตานีด้วย

ในบรรดาผู้นำเหล่านั้นมี ต่วนฆูรู ฮุสเซ็น ปารัง ปันยัง หรือชื่อจริงว่า “ต่วนฆูรู ฮัจญีฮุสเซ็น บิน ต่วนฆูรู ฮัจญีอิสมาแอล หรือ ต่วนฆูรู หะยีเจ๊ะโด บินมุสตาฟาร์ เป็นผู้ที่ถูกกล่าวขานกันมาก

ความจริงที่เกิดขึ้น หลังสงครามครั้งที่ห้าในปี พ.ศ.2328 ชาวมาลายูมุสลิมปัตตานี ไม่อาจจะต้านทานนโยบายที่เรียกว่า “แบ่งแยกและปกครอง” อันเป็นนโยบาย หรือ ยุทธศาสตร์ สำคัญที่จะรักษาอำนาจของสยามไว้

จากนโยบายดังกล่าว ทำให้ปัตตานีถูกแยกออกเป็นเมืองเล็กเมืองน้อย( 7 หัวเมือง) ได้ก่อให้เกิดการต่อต้านจากชาวมาลายูปัตตานี คือตั้งแต่ 2330 เป็นต้นมา เหตุการณ์นั้นได้เพิ่มความรุนแรงในระดับสูงในปี 2493

การต่อต้านอำนาจสยาม เริ่มตั้งแต่ เต็งกูลัมมีเด็น และดาโต๊ะปังกาลัน ได้ทำให้การปกครองของสยามต่อปัตตานีมีผลกระทบรุนแรง แม้บุคคลทั้งสองนั้นจะได้การแต่งตั้งเป็นผู้ปกครองปัตตานีจากสยาม ก็ตาม

ครั้นต่อมาสยามได้แต่งตั้ง “เต็งกูสุหลง” (พ.ศ.2358-2375) ซึ่งเป็นหลานของดาโต๊ะปังกาลัน เป็นเจ้าเมืองปัตตานี แทนเจ้าเมืองคนเก่าที่เป็นชาวสยาม ในสมัยของท่าน ท่านได้ซ่อมแซมมัสยิดกรือเซะ ที่เสียหายจากสงครามในปี 2328 ซึ่งในยุคนั้นปัตตานีได้ชื่อว่า “เป็นศูนย์ กลาง ที่ชาวเอเชียอาคเนย์ต่างมุ่งหน้ามาตักตวงความรู้ทางศาสนาอิสลามกันที่ปัตตานี”

ในปี 2374 เต็งกูสุหลงได้ร่วมกับ ซัยค์ ซัยนัล อาบีดีน หรือรู้จักกันในนามว่า “เต็งกู เด็น” หลานสุลต่านเคดะห์ ทำสงครามกับสยามโดยมีเมืองต่างๆที่อยู่ภายใต้ปัตตานีมาก่อนให้การสนับสนุน

สงครามครั้งนั้น ซัยค์ ดาวูด อับดุลลอฮฺ อัล-ฟาฎอนี เลือดเนื้อชาวปัตตานีที่ไปอยู่มักกะฮ์ ก็เดินทางกลับปัตตานีเพื่อร่วมทำสงคราม ซัยค์ดาวูด เป็นอูลามะอฺ ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของมุสลิมในเอเชียอาคเนย์ ท่านเป็นผู้แต่งตำราทางศาสนาไม่น้อยกว่า 100 เรื่อง หลังสงครามครั้งนั้นท่านก็ได้เดินทางลี้ภัยไปยังเมือง มักกะฮฺ อีกครั้งหนึ่ง และท่านก็ได้เสียชีวิตที่นั่น

ในสงครามครั้งนั้นเช่นเดียวกัน ที่ แซะห์ อับดุซ ซามัด อัล- ฟาลิมบานี นักเขียนตำรา ตาซาวุฟ ที่โลกมลายูรู้จักดี ได้เข้าร่วมทำสงครามด้วย แต่ท่านได้เสียชีวิตในสงคราม (ศพท่านถูกฝังไว้ในเขต อ.จะนะ จ.สงขลา ยังปรากฎร่องรอยจนปัจจุบัน) นอกจากนั้น ยังมีการสนับสนุนกำลังคนในการทำศึกครั้งนี้จากรัฐกลันตันและตรังกานูอีกด้วย

ผลจากสงครามครั้งนี้คือความพ่ายแพ้ ชาวมาลายูจำนวน 6,000 คนถูกจับเป็นเชลยเข้ากรุงเทฯ และ 4,000 คนลี้ภัยสงครามไปยังรัฐมาลายูอื่นๆ

แม้ว่าสงครามครั้งนั้นชาวมาลายูได้รับความสูญเสีย แต่การต่อสู้ของบรรดาอูลามะอฺ ในปัตตานีก็ยังคงดำเนินต่อไป เช่น ซัยค์นิเดร์ อัล-ฟาฎอนี, ฮัจญี วันอะหมัด บินมูฮัมหมัดเซ็น บินมุสตาฟาร์ อัล-ฟาฎอนี, และซัยค์นิมะ กือจิ อัล-ฟาฎอนี,เป็นต้น

แรงกดดันจากสยามที่มีต่อบรรดา อาลิม อูลามะอฺ รวมทั้งบรรดาโต๊ะครูโรงเรียนปอเนาะต่างๆโดยเฉพาะผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากฟากิฮ์ อาลี มัลบารี ต้องถอยร่นลี้ภัยไปยังแผ่นดินมาลายู รวมทั้งเกาะแก่งต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในบรรดาอูลามะอฺ ที่ลี้ภัยจากปัตตานีนั้น ก็มีซัยค์อับดุลกาเดร์ บูกิตบายะห์ ที่อพยพไปยังตรังกานู ซึ่งต่อมาท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นมุฟตี (ผู้ชี้ขาดข้อพิพาททางศาสนา หรือ ฟัตวา) ของรัฐตรังกานู ต่อมา ซัยค์อับดุลเลาะห์ หรือรู้จักกันในนาม “โต๊ะกู ปูลาดูยง” ท่านได้รับเกียรติและได้รับการขนามนามว่า “ไซคุล อูลามะอฺ” จนได้รับการแต่งตั้งเป็นมุฟตีของรัฐตรังกานูอีกผู้หนึ่งหลังจาก ท่านซัยค์อับดุลกาเดร์เสียชีวิต.

อย่างไรก็ตามก็ยังมีอูลามะอฺ อีกท่านหนึ่งอพยพไปยังตอนเหนือของแหลมมาลายู คือ ฮัจญีวันอิดริส ฮัจญีวันจามัล หรือที่รู้จักกันในนาม “โต๊ะซัยค์ จารุม” ท่านได้เปิดปอเนาะขึ้นที่บ้านดูรฆา ถนนลังงาร์ อลอสตาร์ รัฐเคดะห์

มีผู้อพยพไปยังเมืองเคดะห์อีกผู้หนึ่งคือ ฮัจญี อิสมาแอล์ หรือ ฮัจญีเจ๊ะโดล์ บินมุสตาฟาร์ ที่เปิดปอเนาะที่กูวา จือปือเดาะ รัฐเคดะห์ นอกจากนั้นยังมี ซัยค์ อิบราเฮ็ม บินซัยค์ อับดุลกาเดร์ มุสตาฟาร์ บินมูฮัมหมัด อัล-ฟาฎอนี ก็เปิดปอเนาะขึ้นที่ กาเญาะมาตี เคดะห์ เช่นกัน ท่านได้รับฉายาว่า ปะจูเฮ็ง ท่านคือบุตรชายของโต๊ะบันนังดายอ(ชื่อเรียกขานของบิดาท่าน) ซึ่งเป็นผู้แต่งตำราศาสนา ที่ชื่อว่า “Fathul Jalil Wa-Sifatul-Jalil” และแต่งตำราอูซุลลูดดีน ที่ชื่อว่า “Kawa’id ul-Fiqhiyah”

ซัยค์ อะหมัด ตาญูดดีน ได้เปิดปอเนาะที่ เมอเลเล, เต็งกูมะหมูด ซูห์ดี เต็งกูอับดุลเราะห์มาน ได้อพยพไปยังสะลังงอ และได้รับเกียรติจากสุลต่านสะลังงอให้เป็นไซคุล อิสลาม แห่งรัฐสะลังงอ ขณะเดียวกันนั้น ฮัจญี ไซนัล อาบีดีน บินอะหมัดหรือมูฮัมหมัด หรือที่รู้จักกันในนามว่า “ตูวันมีนาล์” ซึ่งเป็นผู้แต่งตำราศาสนาที่ชื่อว่า “Aqidah an-Naajin” ท่านได้อพยพและไปเปิดปอเนาะที่สุไหงดูวา ซือบือรังไปร (รัฐปีนัง)

หลานชาย ตูวัน มีนาล์ ที่มีนามว่า “ต่วน ฆูรู ฮัจญีสุหลง บินอับดุลกาเดร์” ได้เป็นผู้สืบต่อเจตนาของบรรดาอูลามะอฺ สมัยก่อนหน้านั้น ในการต่อสู้เพื่อสิทธิของชาวมาลายูปัตตานี ในโอกาสที่ ท่านได้เดินทางกลับไปปักหลักที่ปัตตานี ท่านได้พยายามพัฒนาการศึกษาในระบบปอเนาะรูปแบบเก่า ให้ทันสมัย โดยจัดให้เป็นรูปแบบโรงเรียนสอนศาสนา จากรากฐานของมัดราซะห์ ที่เรียกว่า “อัล-มะอฺรีฟ อัลวาตาเนียะห์” มัดราซะห์นี้ เป็นเสมือนโรงเรียนศาสนาเริ่มแรกในปัตตานี ที่บรรดาผู้เล่าเรียนได้ใช้เป็นสถานที่สำหรับฝึกปฏิบัติในทางศาสนา

ฮัจญีสุหลง ได้ต่อสู้เพื่อชาวมาลายูปัตตานีจนเสียชีวิตในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1954 การเสียชีวิตของท่านเป็นที่รู้กันทั่วไปว่าเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐ ในบทความเขียน เกี่ยวกับการเสียชีวิตของท่านเป็นสุภาษิตไว้ว่า“melempar batu sembunyi tangan”หรือ ตรงกับภาษิตไทยว่า “ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวมาปิด” หรือ ความลับไม่มีในโลก

ในยุคเดียวกันนั้น ได้มี ต่วนฮัจญีฮุสเซ็น โต๊ะเจ๊ะโดล์ บินมุสตาฟาร์ ซึ่งเกี่ยวพันใกล้ชิดทางบิดา กับ ศูนย์การศึกษาศาสนาอิสลามที่ บ้านกูวา จือปือเดาะ (รัฐเคดะห์ )

ศูนย์การศึกษาศาสนาอิสลามหรือปอเนาะ ที่ชื่อว่า”อัล- อัคลาฆียะห์”ได้เป็นสถานที่ฝึกวิชาการต่อสู้ป้องกันตัวของชาวมาลายูอิสลามปัตตานี ต่วนฆูรู ฮัจญีฮุสเซ็น และคู่เขยที่ชื่อว่า “ต่วนฆูรู ฮัจญีอึมบง ซึ่งเป็นบุตรชายของต่วนฆูรู ชาโอ๊ะ(Chaok) เป็นผู้มีบทบาทสำคัญมากในเรื่องดังกล่าว. ต่วนฆูรุ ฮัจญีอึมบง หรือ ที่รู้กันในนามว่าต่วนฆูรู อับดุลมาญิด หรือ ต่วนฆูรูอับดุลมาญิด อึมบง เป็นนักปาฐกถ ที่สามารถปลุกขวัญกำลังใจได้ดีเยี่ยม

ต่วนฆูรู ฮัจญีฮุสเซ็น ซึ่งเก่งกาจในเรื่องศีละ ฆายง หรือการต่อสู้ป้องกันตัวแบบหนึ่งของชาวมาลายู ได้รับการขนามนามว่า “โต๊ะ ฆูรู ฮัจญี ฮูสเซ็น ปือรังปันยัง”หรือ “โต๊ะครูฮัจญีฮุสเซ็นพร้ายาว” มีผลงานที่ร่ำลือของท่านและลูกศิษย์ คือการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์กลุ่ม 3 ดาว ที่ บูกิต ญือนุน พวกเขาใช้เพียงมีดพร้ายาวเป็นอาวุธ ทำให้พลพรรคพวกคอมมูนิสต์ ประมาณ 40 คนถูกสังหาร

หลังจากเหตุการณ์ครั้งนั้นแล้ว กลุ่มทหารป่าคอมมิวนิสต์ 3 ดาว ก็ไม่กล้าที่จะเข้ามาข่มเหงชาวบ้านอีก นาม ต่วนฆูรูฮัจญีฮุสเซ็น พร้ายาวนั้น เป็นชื่อที่ชาวจีนที่เคดะห์ตั้งให้ เพราะชาวจีนศรัทธาในความกล้าหาญของท่าน จนกระทั่งได้ยกย่องท่านว่าเป็นผู้วิเศษ

ต่วนฆูรู ฮุสซ็น มีความรู้ความสามารถเท่าเทียมกับคู่เขยของท่านคือ ต่วนฆูรู ฮัจญีอึมบงซึ่งเคยเป็นครูสอนศาสนาในพระราชวังของสุลต่านเคดะห์ ท่านได้รับการอนุคราะห์ จากสุลต่าน พระราชทานรถยนต์คันหนึ่ง ซึ่งในสมัยนั้นทั่วไปไม่สามารถมีรถยนต์ใช้กันมาก่อน

การต่อสู้ของชาวมาลายูปัตตานี ไม่อาจจะขยายไปได้อย่างกว้างขวาง เมื่อถึงวันบังเกิดขึ้น แล้วก็ต้องมีวันที่ต้องสูญสลายไป

อย่างไรก็ตาม เป็นที่กล่าวขานกันว่า ท่านต่วนฆูรู ฮัจญีวันฮุสเซ็น เป็นผู้นำศาสนา หรืออาลิ่ม อูลามะอฺ ที่มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว และได้กลายเป็น วีรบุรุษที่อยู่ในหัวใจของชาวปัตตานีทั่วแคว้นมาลายู ชั่วกาลนาน

ขอองค์อัลลอฮ์ ได้รับเอาดวงวิญญานของท่าน ได้อยู่ในบรรดาผู้มุอฺมีนด้วยเถิด อามีน.

...จากบทความข้างต้นจะเห็นได้ว่า การฮิจเราะห์ หรือการอพยพของชาวมาลายูปาตานีในอดีตจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม นอกจากเขาจะนำวิชาการศาสนาอิสลามไปเผยแผ่จนได้รับความเชื่อถือจากผู้นำรัฐแต่งตั้งให้มีตำแหน่งสำคัญแล้ว ยังได้จัดระบบการศึกษาที่เรียกว่า“ปอเนาะ”ให้แก่รัฐมาลายูจนเจริญรุ่งเรือง แต่..ขณะเดียวกันนักการเมืองไทยบางกลุ่มกำลังคิดจะยกเลิกปอเนาะ ขอถาม “นักการเมืองมุสลิมในสภาไทยพอยังมีบ้างไหม ...?”

จึงเป็นบทเรียนของรัฐบาลไทย ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการทุกระดับในพื้นที่ จะต้องเรียนรู้ปัญหาซ้ำซากที่เกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐ และนักการเมืองที่พยายามสร้างภาพเพื่อเอาหน้า ตลอดจนการกำหนดนโยบายที่ผิดพลาดในอดีตต่อมลายูมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากจะเป็นผลกระทบต่อการเมืองระหว่างประเทศแล้ว ยังมีผู้ได้รับประโยชน์เต็มๆ คือประเทศเพื่อนบ้าน

ในขณะที่ชาวมลายูปัตตานีและรัฐไทยเอง ต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลที่มีค่าของตนไปโดยไม่อาจจะเรียกกลับคืนมาได้

Sunday, September 18, 2005

Loss and Gain


By: Henry Wadsworth Longfellow


When I compare
What I have lost with what I have gained,
What I have missed with what attained,
Little room do I find for pride.

I am aware
How many days have been idly spent;
How like an arrow the good intent
Has fallen short or been turned aside.
But who shall dare
To measure loss and gain in this wise?
Defeat may be victory in disguise;
The lowest ebb is the turn of the tide.

Friday, September 09, 2005

“ดูซง” วิถีป่าชุมชนเชื่อมสัมพันธ์ของมุสลิม


โดย ฮัมดัน ตามาซอ


ดูซง หรือที่เรียกแทนสวนผลไม้ที่มีการครอบครองร่วมกันของคนในชุมชน โดยสวนผลไม้ดังกล่าวนี้เป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ ดังนั้น สิทธิประโยชน์จากดูซงจึงตกเป็นของคนในชุมชน ซึ่งผูกพันกันเป็นพี่น้องเครือญาติ ระบบดูซง เป็นระบบการจัดการทรัพยากรที่ดิน (สวน ป่า ไร่ผลไม้ ฯ) ซึ่งเป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษบนพื้นฐานความเท่าเทียมยุติธรรม ซึ่งใช้ทั่วไปในชุมชนมลายูมุสลิมแถบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) โดยส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ท้องถิ่น เช่น ดูซงดือฆีแย(สวนทุเรียน) ดูซงญอ ( สวนมะพร้าว) เป็นต้น

คำว่า ดูซง มีความหมายตาม Kamus Dewan ( พจนานุกรมภาษามลายู ของสภาภาษาและหนังสือมาเลเซีย) ดังนี้ คือ Dusun (อ่านว่า ดูซุน หรือ ดูซน ) หมายถึง Kebun buah-buahan แปลเป็นไทยว่า สวนผลไม้นานาชนิด ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ในแถบ 3 จังหวัดภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่แถบหุบเขาซึ่งมีที่ดินเหมาะแก่การปลูกผลไม้เมืองร้อนนั้น ได้มีการนำระบบดูซงมาใช้กับสวนผลไม้ของคนในชุมชน ซึ่งสวนนี้ประกอบไปด้วยผลไม้นานาชนิดที่เครือญาติร่วมกันปลูกและดูแล รวมทั้งผลไม้ที่บรรพบุรุษ พ่อ แม่ ปู่ย่า ตายาย ได้ปลูกในอดีตให้ลูกหลานในปัจุบันได้เก็บเกี่ยวผลผลิต และช่วยกันดูแลรักษาสวนดังกล่าวไว้

ระบบดูซงจึงเป็นลักษณะเด่นประการหนึ่งที่สะท้อนวิถีชีวิตชุมชนมลายู มุสลิมที่นี่ แสดงให้เห็นถึงความเอื้ออาทรและช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ญาติมิตรที่ค่อนข้างเข้มแข็งให้แก่เครือญาติและคนในชุมชน ด้วยวิธีการจัดการผลผลิตจากดูซงแบบสมานฉันท์ เท่าเทียมกันตามหลักการอิสลาม เป็นวิถีทางประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในชุมชน แสดงถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน นำมาสู่ความประนีประนอม เกิดความสงบสุขขึ้น

จากประสบการณ์ของผู้เขียน ซึ่งเคยได้สัมผัสการใช้ระบบดูซงในชุมชน จึงขอยกตัวอย่างสวนผลไม้บริเวณบ้าน เมื่อก่อนเป็นที่ดินผืนใหญ่เพียงแปลงเดียวไม่มีโฉนด แต่ชุมชนซึ่งเป็นเครือญาติเป็นผู้ถือครองและได้รับประโยชน์ร่วมกัน ( สิทธิเชิงซ้อน ) ใครอยากปลูกอะไร ทำอะไรเชิญปลูกได้ทำได้ตามสะดวก ส่วนผลผลิตที่ได้มานั้น ขึ้นอยู่กับจิตสำนึกของแต่ละคนว่าควรจะแบ่งให้คนอื่นๆที่มีสิทธิครอบครอง นั้นหรือเปล่า แต่ส่วนใหญ่ มักจะแบ่งปันผลผลิตจากการเกษตร ให้ทุกคนไม่มากก็น้อย ส่วนต้นทุเรียนใหญ่ๆ ก็จะไม่มีการโค่นถ้าไม่เป็นมติของผู้ร่วมถือกรรมสิทธิ์ จึงสัมพันธ์กับการที่ชาวเหนือเรียกร้องเรื่องป่าชุมชน อนุมานได้ว่า ระบบดูซงในชุมชนมลายูมุสลิมน่าจะไม่แตกต่างกับกับระบบป่าชุมชนในภาคเหนือ

ระบบดูซง สอนให้คนรู้จักความความพอเพียง พออยู่ พอกิน โดยในอดีตผลไม้ในดูซงใครอยากเก็บไปกินก็เก็บไปได้ตามสบาย ไม่มีใครมุ่งแต่จะเก็บไปขายเอาเงินเหมือนในปัจจุบัน และยังสอนให้คนรู้จักความประนีประนอมด้วยการแบ่งปัน การจัดเวรเก็บทุเรียนที่หล่นจากต้น นับเป็นวิถีทางประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานความพออยู่พอกิน และความสัมพันธ์ที่ดีของชุมชน ตลอดจนการแสดงให้เห็นว่า ใครที่อยู่ในบริเวณใกล้ดูซงหรือใครมีสิทธิในดูซงนี้ ก็คือญาติพี่น้องกันนั่นเอง เพราะดูซงนี้เป็นที่ดินของคนๆเดียวคือทวดของทวดของทวดของทุกคน สรุปก็คือเป็นของทุกคน

นอกจากนี้ ดูซง ยังเป็นสวนเกษตรแบบผสมผสานไปด้วย ดังจะเห็นได้จากการที่ใครอยากปลูกอะไรก็ได้ ใครอยากเลี้ยงสัตว์อะไรในดูซงก็เชิญ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องขึ้นอยู่กับความเห็นชอบชุมชนหรือผู้ร่วมถือกรรมสิทธิ์ด้วย จึงจะไม่เกิดปัญหากระทบกระทั่งระหว่างกัน และด้วยความเป็นพี่น้องกันที่แสดงออกโดยระบบดูซงทำให้ปัญหาความขัดแย้งกันใน ชุมชนจึงไม่เกิดขึ้น

ผลผลิตจากดูซง อาทิ ทุเรียน ได้มีการนำทุเรียนไปทำเป็นข้าวเหนียวทุเรียน จัดเป็นงานบุญ เลี้ยงคนในชุมชน ตลอดจนการเชิญเด็กปอเนาะมาร่วมรับประทานถือเป็นการทำบุญก่อเกิดความสัมพันธ์ อันดีขึ้น โดยที่ทั้งหมดเป็นเจ้าภาพร่วมและอิ่มบุญไปตามๆกัน

ปัจจุบันไม่ค่อยมีระบบดูซงแล้ว เนื่องจากวิถีชีวิตในชุมชนต่างคนต่างอยู่และทำมาหากินต้องต่อสู้กับความยากจนที่มาจากการให้ความหมายโดยทุนนิยม โดยผู้เขียนเห็นว่าสิ่งที่ได้ทำให้ระบบดูซงสลายไปเกิดจากสาเหตุใหญ่ๆ 2 ประการ คือ

1.นโยบายรัฐ ที่กำหนดให้ผู้ที่ถือครองที่ดินต้องมีโฉนดหรือหลักฐานการครอบครอง ทำให้คนในชุมชนต้องมาตัดแบ่งที่ดินน้อยนิดในชุมชนให้แต่ละคน อาจก่อให้เกิดปัญหาความไม่ยุติธรรมและเกิดความขัดแย้ง ความไม่พอใจขึ้นได้

2. ทุนนิยม การแข่งขันทางเศรษฐกิจที่รุนแรง ความคลั่งไคล้ในวัตถุนิยม ความไม่รู้จักพอเพียงอันสืบเนื่องจากวัฒนธรรมของทุนนิยม ก่อให้เกิดปัญหาหนี้สินตามมา จึงขอแบ่งที่ดินดูซงไปขายเพื่อปลดหนี้ ก่อเกิดความขัดแย้ง ปัญหาต่างๆมากมายในชุมชน และที่สำคัญคือการแย่งชิงที่ดินกันของญาติพี่น้อง

ความโดดเด่นสวยงามของระบบวิถีชีวิตวัฒนธรรมมลายูมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เช่นนี้ น่าจะเป็นต้นทุนสำคัญ ในการแก้ไขปัญหาโดยเอาแนวทางสันติวิธีเป็นจุดยืน โดยมีต้นทุนที่สำคัญได้แก่ ศาสนาที่เข้มแข็ง ระบบนิเวศทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ และ ความสัมพันธ์เป็นชุมชนเครือญาติของประชาชน ต้นทุนทั้ง 3 ประการเชื่อมโยงกันเป็นเกราะป้องกันปัญหาการคุกคามจากทุนนิยมและอำนาจรัฐที่ ไม่เป็นธรรมได้



ที่มา: ศูนย์ข่าวอิศรา สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
http://www.tjanews.org

Thursday, September 08, 2005

Jejak Ulamak: Keadaaan Zaman Imam Al-Mawardi [Siri-2]


Oleh Mohd Rumaizuddin Ghazali, Exco Dakwah ABIM

Zaman Imam al-Mawardi mempunyai kelainan dengan zaman yang lain menyebabkan timbulnya aliran pemikiran, budaya dan cara hidup yang memberi kesan positif kepada umat Islam pada ketika itu.1 Antaranya ialah :

1. Suasana Politik

Pada masa ini berlaku perselisihan dan perpecahan dalam aliran politik dan timbulnya fitnah, kekacauan dan khalifah tidak dapat berfungsi dengan sepenuhnya. Terdapat pemberontakan di dalam dan luar negari. Zaman ini telah menyaksikan fitnah yang amat banyak antara puak-puak yang bertelagah di dalam negara. Berlaku pertentangan golongan yang menggabungkan politik dengan aliran pemikiran mereka seperti golongan Buwayhiyyah lebih mirip kepada Syiah dengan dakwaan khalifah itu milik mereka. Pertentangan antara ahli Sunnah dengan Syiah, antara ahli sunnah dengan golongan Rawafidh, dan antara golongan Nasrani dengan golongan Hasyimi. Timbulnya golongan Hasyimi dan juga pertelingkahan sesama pembesar bani Buwayhiyyah dalam pentadbiran negara. Khalifah Abasiyyah berada di bawah kekuasaan bani Buwayhiyyah, timbulnya pertentangan antara ahli Sunnah dan Syiah, berlakunya kekacauan dan perompakan akibat keadaan politik yang tidak stabil.

Pada masa ini juga , perkembangan kerajaan Fatimiyyah di Mesir yang juga menggugat Khalifah Abasiyyah di Baghdad setelah mereka berjaya menawan kota Damsyik tetapi gagal untuk mencapai cita-cita bagi menjatuhkan Khalifah Abasiyyah dan memasuki Baghdad. Pada masa ini juga dapat menyaksikan keruntuhan kerajaan Fatimiyyah selepas itu.

Pada masa ini terdapat kerajaan-kerajaan kecil seperti kerajaan Hamadani di Syam, Samaniyin di timur. Ada dua faktor yang terpenting yang berlaku pada zaman al-Mawardi dari segi politik iaitu :

a) Pembahagian dan pemecahan kerajaan Abasiyyah kepada negeri-negeri kecil seperti Fatamiyyah, Buwayhiyyah, Salajuk, ‘aghalibah dan Ghazanuwiyyah.

b) Kelemahan khalifah dan hilang kepercayaan kepadanya.

Semenjak permulaan kurun keempat, khalifah-khalifah Abasiyyah telah kehilangan kuasa dalam pentadbiran negara disebabkan kelemahan diri mereka. Keadaan ini bertambah buruk pada pertengahan kedua kurun keempat dan awal kurun kelima. Pada ketika ini, golongan Buwayhiyyah yang mengambil alih kekuasaan dari khalifah. Golongan Buwayhiyyah merupakan golongan Syiah yang ta’asub, mereka percaya bahawa khalifah adalah hak mereka dan bukan bagi golongan Abasiyyah. Mereka merupakan penyebar Syiah dan memerintahkan rakyat supaya merayakan hari-hari kebesaran Syiah. Mereka berusaha untuk mendirikan khalifah Syiah, bagi mengantikan khalifah Abasiyyah walaupun didapati di sana ada sebab-sebab politik dan masyarakat yang menghalang usaha tersebut. Mereka menyokong kerajaan Fatimiyyah di Mesir dengan harapan agar dapat mengugat kekuasaan khalifah Abasiyyah di Baghdad. Ini adalah faktor-faktor yang menyebabkan khalifah Abasiyyah menjadi lemah.

Pada masa ini bani Buwayhiyyah memainkan peranan dalam pemerintahan. Mereka boleh melucut dan melantik khalifah sesuka hati. Pada tahun 320 hijrah al-Muqtadir billah yang terkenal dengan melakukan pembaziran, penyelewengan wang, ketaatan kepada wanita, memecat menteri dan dibunuh. Selepas itu, dilantik al-Mu’tadhad billah sehingga mereka menangkapnya serta melucutkan jawatan khalifah pada tahun 322 hijrah. Kemudian diganti dengan al-Radhi billah pada tahun 322 hijrah sehingga tahun 329 hijrah. Beliau diganti dengan Mutaqi billah tetapi dilucutkan jawatan dan diganti oleh al-Mustakfi billah pada tahun 333 hijrah. Pada masa pemerintahannya golongan Buwayhiyyah menguasai khalifah. Beliau juga dilucutkan jawatan dan disiksa dalam penjara. Golongan Buwayhiyyah telah melantik Muti’ billah pada tahun 334 hijrah.Pemerintahan khalifah Abasiyyah hanya pada namanya sahaja sementara pemegang kuasa sebenarnya ialah ditangan golongan Buwayhiyyah yang berkuasa untuk melantik dan melucutkan khalifah. Keadaan ini berterusan sehingga al-Qadir billah memegang jawatan khalifah pada tahun 381 hijrah. Beliau telah memerintah selama 41 tahun.

Semasa pemerintahannya, beliau berjaya mengurangi kekuasaan bani Buwayhiyyah serta menjadikan keadaan politik stabil. Ini disebabkan kekuatan peribadinya serta kejayaan dalam membina kepentingan rakyat dan negara. Beliau diganti oleh al-Qa’im billah pada tahun 422 hijrah yang telah memerintah selama 45 tahun.

Oleh itu, zaman Imam al-Mawardi merupakan zaman yang penuh dengan kekacauan, perebutan kuasa antara pembesar dan khalifah dan timbulnya berbagai-bagai aliran politik. Perkara ini telah memberi kesan dalam pemikiran al-Mawardi dalam menyelesaikan masalah politik, masyarakat dan negara. Beliau menasihati para khalifah, menteri-menteri dalam membina tanggungjawab bersama bagi membangunkan negara. Beliau juga menggesa supaya masyarakat sentiasa bekerjasama dan bersatu dengan mengikut manhaj ilahi sepertimana yang dikupasnya dalam buku yang berjudul Adabu d-Dunya wa d-din. Namun, dalam keadaan yang sedemikian perkembangan ilmu semakin pesat.

Suasana Masyarakat dan Ekonomi.

Pada zaman ini suasana masyarakat dan ekonomi mengikut tradisi masyarakat sebelumnya yang terdiri dari berbagai-bagai peringkat masyarakat. Peringkat yang tertinggi terdiri daripada khalifah, pembesar-pembesar, menteri-menteri, ketua-ketua pegawai, gabenor-gabenor, kadi-kadi dan orang yang setaraf dengannya. Peringkat pertengahan terdiri daripada pegawai-pegawai jabatan, peniaga dan pegawai tentera. Peringkat bawahan terdiri daripada golongan petani, pengembala binatang, kadam dan hamba. Perbezaan peringkat ini membawa kepada perbezaan kedudukan ekonomi di antara mereka.

Golongan kelas atas hidup dengan penuh kemewahan manakala kelas menengah hidup dalam keadaan sederhana dan kelas bawahan hidup dalam keadaan kesempitan disebabkan melambungnya harga-harga barang di pasaran disebabkan ekonomi yang tidak stabil. Ibn Kathir1 menyebutkan pada tahun 373 hijrah harga barang-barang telah melambung tinggi sehingga ada yang mati kelaparan sedangkan para raja-raja menghabiskan wang hanya untuk melansungkan kenduri perkahwinan secara membazir.

Pada masa ini juga lahirnya golongan Zindiq, golongan sufi yang menyeleweng dan golongan zuhud yang bertentangan dengan ruh Islam. Mereka ini terkesan akibat pengaruh dengan anasir-anasir kebudayaan luar disebabkan percampuran mereka dengan orang-orang Parsi, India dan Rom. Terdapat juga golongan sufi yang menyeleweng terpengaruh dengan Syiah sehingga mentakwilkan ayat-ayat al-Quran secara batil semata-mata untuk menyakinkan dakwaan mereka. Mereka mengelarkan diri mereka sebagai ahli hakikat iaitu dengan membezakan para ulama yang tidak mengikut tarikat dan aliran sufi. Mereka mendakwa mendapat ilmu melalui ilham dan kashaf. Di sini bangunlah para ulama Islam mengarang buku untuk menolak hujah-hujah golongan ini. Secara ringkasnya boleh dikatakan pada zaman ini berlakunya kemewahan dikalangan para khalifah, kemiskinan dikalangan orang awam, dikenakan cukai yang tinggi kepada rakyat dan timbulnya keganasan serta perompakan yang berleluasa.

3. Suasana Ilmu dan Pemikiran.

Suasana ilmu dan pemikiran pada kurun keempat dan kelima terus berkembang berterusan terutama pada kurun kelima kerana timbulnya gerakan menghimpun semula buku-buku karangan pada kurun sebelumnya dan dijadikan sebagai Encyclopedia. Perkembangan pemikiran ini berterusan sehingga melahirkan ramai ulama dalam berbagai-bagai bidang. Menurut Dr. Hassan Ibrahim Hassan menyebutkan pada zaman ini usaha-usaha penterjemahan dari bahasa asing khususnya bahasa Yunan atau Greek, bahasa Parsi dan bahasa Hindi giat dilakukan. Di samping itu, pemikiran umat Islam dalam kajian, penyelidikan dan karangan didapati telah matang. Kegiatan intelektual telah meningkat dengan begitu pesat dan istana-istana dipenuhi oleh para ulama dan ilmuan.

Pada zaman Buwayhiyyah golongan Imamiah telah berkembang. Antara ulama-ulama yang masyhur seperti Syeikh Saduq, Syarif al-Reda, Syeikh al-Mufid, Syeikh Jaafar al-Tusi dan Murtada. Syeikh al-Reda adalah seorang ulama yang terkenal dalam bidang kesusteraan Arab dan menghimpunkan kitab Nahjul Balaghah.

Pada zaman ini juga lahirnya para ulama-ulama yang terkenal dalam berbagai mazhab. Ulama dalam mazhab Hanafi seperti Abu Taib Tahir bin Abdullah al-Tabari, Syirazi, Abu Bakar Khawarizmi, Abu Hussain Qadawari dan Abu Abdullah Syamiri. Ulama dalam mazhab Maliki seperti Qadi Abdul Wahhab bin Nasir al-Baghdadi, Abu Bakar Muhammad bin Abdullah al-Abhari, Abu Hassan al-Mu’afiri, Abu Abdullah al-Fahar Muhammad bin Umar bin Yusuf al-Qurtuby. Ulama dalam mazhab Syafie seperti Imam Abu Hamid al-Isfarayni, al-Baihaki pengarang kitab sunan, al-Qasayri pengarang risalah al-Qasayri, al-Juwayni Imam Haramain, Abu Taib al-Tabari, Khatib al-Baghdadi dan Imam Syirazi. Ulama dalam mazhab Hanbali seperti Ibn Batah, Ibn Sam’un, Qazawini, Abu Ya’la, Abu Jaafar Hanbali, Abu Wafa’ Ali bin Aqil yang dikenali sebagai Ibn Aqil dan Ibn Hamid.

Antara ulama Muztazilah ialah Qadi Abdul Jabar bin Ahmad

al-Razi,mempunyai kitab al-Mughni dalam bidang Tauhid, Abu Saad Saman Ismail bin Ali al-Razidan Abu Hussain al-Basri.Ulama dalam mazhab al-Zahiri ialah Abu Muhammad Ali bin Hazim al-Andalusi (w.456). Antara ulama dalam bidang ilmu kalam ialah Abu Qassim al-Tanuhi, Abu Abdullah Nasibi, Abu Qassim Burhan, Abu Bakar bin Furak dan Muhammad bin Wasakh.1 Ulama dalam bidang hadis seperti Ibn Madah, Barqani, al-Baihaki, Ibn Naim, al-Jarwadi, al-Baghdadi, al-Kitani, Ibn ‘Abar al-Bir dan Sahami. Menurut para pengkaji sejarah telah menyebutkan pada zaman ini terdapat lebih dari seratus orang ahli hadis seluruh dunia Islam.

Dalam bidang ilmu nahu dan saraf seperti Ibn Jinni, Abu Hassan Jurjani, Badi’uzzaman al-Hamzani dan lain-lain. Dalam bidang sejarah lahirnya ulama-ulama seperti Ibn Maskawih, al-Baghdadi, Abu Raihan al-Biruni, Hilal bin Muhsin al-Sabi, Turtusi dan lain-lain.4 Dalam bidang falsafah lahirnya Ibn Sina dan golongan Ikhwan al-Safa.

Dari sini dapatlah disimpulkan bahawa pada kurun keempat dan kelima hijrah adalah zaman perkembangan ilmu yang begitu pesat sekali. Perkembangan-perkembangan ilmu ini disebabkan beberapa faktor seperti berikut :

1. Sokongan dan dorongan yang diberikan oleh khalifah dan para pembesar kepada ulama. Para ulama telah diberi ganjaran dan hadiah oleh pemerintah.

2. Perkembangan aliran pemikiran yang meliputi seluruh dunia Islam ketika itu.

3. Dialog terbuka di dalam majlis-majlis ilmu diantara para fuqaha dalam berbagai-bagai mazhab. Mereka saling berhujah dan mempertahankan mazhab masing-masing.

4. Berkembangnya pusat-pusat pengajian ilmu dan perpustakaan terutama di masjid-masjid.

5. Kemasukan kebudayaan luar dalam kehidupan mereka sehingga memberi kesan terhadap perkembangan ilmu. Buku-buku asing diterjemahkan ke dalam bahasa Arab.

6. Kelahiran golongan yang menyeleweng dalam agama, mengingkari nabi dan rasul serta ta’asub terhadap fahaman mereka. Oleh itu, para ulama telah bangun untuk menentang golongan ini serta mematikan hujah mereka.

Wednesday, September 07, 2005

Environment and Values: An Islamic Perspective


By S. Parvez Manzoor

The rapid deterioration of human environment is nothing but a crisis of values. It is actually the most striking manifestation of the development of the Western civilization. One cannot ignore the inescapable conclusion that modern science and technology has provided us with a literal and physical capacity to completely destroy ourselves. The threat to the very abode of our terrestrial sojourn is merely an indication of this capacity.

The Modern Situation

The modern civilization is characterized by its awesome mastery of the physical and natural forces, which throughout human history have bedeviled Man with distress and misery of every kind. No longer helpless before the capricious might of untamed nature, modern man, having already subdued his whole terrestrial milieu, is now casting his covetous glances at the stars. This unprecedented dominion over nature is a unique and singularly impressive feature of the modern, albeit Western, civilization. Every other contemporary civilization tries to emulate the Western science and technology in its acquisition of the tools of this fearsome mastery. Political ideology, religious persuasion, cultural heritage and historical traditions are all willingly sacrificed at the high altar of modernity. Every contemporary society, it would appear, is scrambling for the spoils of the Western conquest of nature, unhampered by moral constraints of any kind.

Ironically, whereas the rest of the world is blinded by the dazzling display of Occidental might, the West itself is no longer sure of the fundamental moral forces of its civilization. Faced with the enormity of problems confronting the world today – problems defying technical, i.e. Western, solutions - Western man is displaying every symptom of nerve failure. The sheer impossibility of maintaining the wanton ethos of “progress and meliorism” forever has even shed an uncanny shadow of doubt on the ability of man to survive as a race on this planet. The ominous foreboding of environmental calamity, perhaps the greatest peril facing mankind today, has also brought back the cardinal virtue of temperantia and the need for humility regarding today’s scientific jargon. In short, gone today is the illusory sense of dominion, which man enjoyed during a short interregnum. Gone, certainly, is yesterday’s confidence in the powers of Promethean man.


Ecological Ethics and Religious Consciousness

Man as a creature, is never found in a “state of nature”, for as soon as he becomes recognizable as Man, he is already in a state of culture. Man’s strivings to impose his will upon nature, may therefore be construed as being essential to his constant struggle to remain in a state of humanity. The way he reacts with nature, seeking dominion over it or propitiating it with votive gifts, thus, mirrors man’s very conception of himself and of the ultimate values he espouses. Without doubt, human environment, the part of nature Man inhabits and fashions to meet his aspirations, reveals a great deal of a culture’s teleology and its overall world-view. Ecological issues are, in the final analysis steeped deep in the moral and ethical consciousness of a culture. Ecology is, in fact, a part and parcel of religious Weltanschauung.

Recently, with the gradual awareness of the degradation of global environment, the following questions have repeatedly been asked: In which way is the present state of ecological imbalance indicative of the spiritual rootlessness of modern culture? What are the metaphysical and philosophical roots of the environmental attitude that has brought modern civilization to the brink of disaster? What is it in the Western man’s intellectual and spiritual heritage that distinguishes his view of nature and environmental ethics, from those of earlier and other contemporary cultures? Is the depletion of natural resources and the deterioration of human environment merely the obverse side of the industrial society that has let out the genie of technological change and is now unable to control the unruly spirit? Could the villain in the whole ecological drama be Man himself, who has bred too many of his own kind? Perhaps the root cause of our environmental predicament is simply that all ethics hitherto were always considered to have to deal only with the relations of Man to Man.

A very provocative answer to these questions was provided by Lynn White Jr, who put forward the thesis that the roots of our ecological problems are to be found in the Judo-Christian ethics. Man, in the Biblical tradition, White argues, is above nature. He is a special creation of God and has been commanded to have dominion over nature: (to replenish the earth and subdue it and have dominion over the fish of the seas and over the fowl of the air and over every living thing that moveth upon the earth.) Christianity, White continues, sanctified Man’s conquest of nature and was instrumental in the engenderment of natural and physical sciences. The emergence of science, technology, indeed the modern secular world, owes its rational to the Biblical Weltanschauung: nay, it is an essential fulfillment of Christian commitment. Then White’s argument changes into an indictment and marks the specific contribution of its author, by sanctioning Man’s unrestricted conquest of nature. Christianity, White believes, must take the blame for the environmental affliction of mankind because the roots of the present ecological crisis lay already in the first chapter of Genesis. Having acquired this insight, White was bold enough to plead for the modification of the so-called “dominion ethics”, which misapplication has resulted in the present environmental debacle, and replacing them with what he called “Franciscan conservatism”.

Idolatry and Nature Worship

The monotheistic crusade against the sin of idolatry, of nature worship, has also been dismissed as a Quixotian charge at the windmills because “it is doubtful that any such thing as idolatry has ever existed to any significant degree outside the perceptions – or misperceptions – of Judo-Christian cultures”. Quite the contrary, “desacralized nature, our nature, lacking sacramental transparency, has become an idol, an objectivized reality held to be final and self-sufficient: the highest reality, the only reality”. Nothing less than the whole prophetic tradition, from Abraham to Muhammad, stands accused for mankind’s present ecological distress!

Another remarkable feature of the environmental controversy over the “monotheistic debasement of nature” was that Islam – as usual – hardly figured in this discussion as if it were a religion from the moon and the living reality of one billion Muslims merely a statistical illusion. It was taken for granted that “Islam, like Marxism, is a Judo-Christian heresy”, which had hardly anything original to contribute. As for those who did spare a thought or two to the flowering of science in “Islamdom”, during the Western Middle Ages, the anomalous fact was easily and erroneously “explained away”. The argument was that “the main content and attitude of Islamic science appear to be driven solidly from Greek sources”, and that “within the context of the present discussion, the case of Muslim science must logically lead to a direction opposite to that to which it is commonly supposed to lead”.

The whole subject of the relationship of Islam with natural science still awaits proper enquiry. It cannot be entered upon here, but all the available evidence suggests that the scientific Weltanschauung of Islam was anti-classical. If science in Islam did not lead to the same kind of development that transpired in the West, it is simply because it was never detached from values. Other more tangible factors, quite naturally, did contribute towards the decline of natural sciences in Islam, but the main constraints were ethical. In hindsight one could not regard this as merely unpropitious.

The role of religious consciousness in the formation of environmental attitudes, which is the vantage point of Islam, deserves as much consideration as any other. There is no justification for assuming an identity of Qur’anic and Biblical stance on the subject, without enquiry and comparison. Despite the common “monotheistic” vocabulary; God, creation, Man, history and revelation, the Qur’anic statement on Man’s ultimate purpose, and hence his relationship with nature, differs not only in tenor and syntax, but also in substance as well, from that of the Bible. Nature and ethics are at the very core of Qur’anic Weltanschauung. To infuse the natural world with transcendental ethics is the main purpose of Man, according to the Qur’an.

Salvation or Damnation

In fact, Man’s salvation or damnation ensues from his ability to assume moral responsibility in his natural milieu. So central is the Qur’anic theme of the affinity of nature and ethics that even outsiders have not failed to notice it. Actually the present ecological crisis has indeed made Islam a particularly relevant ethical tradition. Once blinded by the dazzling haze of modernity, countless numbers of Muslims are now, thanks also to the ecological hindsight of the once improvident Occidental culture, rediscovering their own spiritual roots. The whole philosophy of secular meliorism and its concomitant delusion of progress and prosperity forever, appear patently irrelevant when viewed in the light of the Qur’anic ethic of moral responsibility and moderation. It is not accidental that Muslim intellectuals were among the very first who raised their voices against the abuse of nature, which was being perpetrated in the name of science and progress.

In the coming years, Muslim thinkers will, I believe, make their voices increasingly heard on issues pertaining to environment and values. Their Islamic conscience, I believe further, makes them suitable partners in a debate, which until recently has been an internal Western prerogative. At a time when the whole ethical tradition of monotheism being reviled for leading us to the present environmental cataclysm, truth demands that monotheistic “solutions” – even outside of Biblical tradition – be sought. I believe Islam possesses such a monotheistic solution to mankind’s present ecological ills.

from:www.islamonline.net

Tuesday, September 06, 2005

Ecology in Islam: Protection of the Web of Life a Duty for Muslims


By Dr. Hasan Zillur Rahim

Given that Islam provides an ecological outlook that is practical as well as ethical, how is it that, in terms of deforestation, air and water pollution, soil erosion, wildlife extinction and even toxic waste management, Muslim nations are no better than the industrialized nations of the world? By importing inappropriate technology to solve indigenous problems, they uproot traditionally sound environmental practices and create ecological perils that threaten their survival. Many Muslim states could be described as having reached "endangered nation" status.

Among the varied and complex reasons for this, perhaps the most telling is that many of us are unaware of the environmental dictates of our religion. Few know that Qur'anic verses describing nature and natural phenomena outnumber verses dealing with commandments and sacraments.
In fact, of more than 6,000 verses in the Holy Qur'an, some 750, one eighth of the Book, exhort believers to reflect on nature, to study the relationship between living organisms and their environment, to make the best use of reason and to maintain the balance and proportion God has built into His creation. The earth's resources land, water, air, minerals, forests are available for our use, but these gifts come from God with certain ethical restraints imposed on them. We may use them to meet our needs, but only in a way that does not upset ecological balance and that does not compromise the ability of future generations to meet their needs.

Thus, not knowing about stewardship and accountability, we reduce Qur'anic teachings to narrow definitions of crime and punishment. This is reflected in unenlightened environmental leadership found in some Muslim countries today.

For many Muslims, it will undoubtedly come as a revelation to know how emphatic the Qur'an is about protecting the environment. The Islamic approach to the environment is holistic. Everything in creation is linked to everything else; whatever affects one thing ultimately affects everything. Man has been distilled from the essence of nature and so is inextricably bound to it.

Because of its ability to reason and think, humanity has been made the trustee or steward of God on earth. Nature is created on the principle of balance, and as a steward of God it is the human's responsibility to ensure that his or her actions do not disrupt this balance. Stewardship does not imply superiority over other living beings: because ownership belongs to God alone, stewardship invests humans with a moral responsibility in safeguarding God's creation.

Stewardship requires that humans learn to live in harmony with rather than work against nature. That is why reflecting on nature and understanding its inner workings has been made
the fundamental basis of knowledge in Islam. Man can detect God's "signs" in all the natural phenomena that surround him and should, therefore, observe them better to understand "God's way," which is the Qur'anic term for "laws of nature. " Thus "in the succession of night and day," "in the water that comes down from the sky, giving life to the earth after it had been lifeless," "in the change of the winds," "in the mountains towering above the earth ... .. in the hives of the bees and the flight of the birds, " "in the wonder of the seed," "in the springs that gush forth from within the earth in these and similar Qur'anic verses, God reminds humankind that there are "messages for those who reason and think. "

The Fundamental Role of Water

Several verses of the Qur'an deal with the hydrological cycle and the fundamental role water plays in sustaining life on earth. In referring to the fertility of the soil, to the unique properties of fresh and sea water, to the course of rivers and the presence underground of springs and aquifers, and most significantly to the aquatic origin of life, the Qur'an places water at the top of all the natural phenomena on earth. The miracle of water is emphasized in a particular verse where God, addressing those who may doubt the truth of resurrection, first gives the example of the growth of the fetus within the mother's womb, leading to the birth of a human being. The verse then concludes, "If you are still in doubt as to resurrection, consider this: you can see the earth dry and lifeless and suddenly when we send down waters upon it, it stirs and swells and puts forth every kind of lovely plant! " (22:5)

One of the great principles of ecology is diversity of life and the role it plays to make the earth habitable. Without the biotic diversity of plants, animals and microorganisms that share the planet with us, life as we know it could not exist. All living species have a right to live and flourish on earth, not because of their potential use to humans, but because their presence sustains the harmony and proportion of God's creation. This is expressed in the Qur'an thus: "And the earth—we have spread it out wide, and placed on it mountains firm, and caused life of every kind to grow on it in a balanced manner, and provided means of livelihood for you as well as for all living beings whose sustenance does not depend on you. " (15:19)

Stewardship invests humans with a moral responsibility.

Man is only one of God's creations, existing side by side with other living beings. His life depends on other lives and energies and processes in an interwoven system of which he is only a part. Lest his arrogance lead him to believe that he represents the epitome of God's creation, the Qur'an reminds him that "Greater indeed than the creation of man is the creation of the heavens and the earth." (40:57) By stressing that man is only a small part of the universe, the Qur'an points out the absurdity of the anthropocentric world-view.

A diminishing biotic diversity whose principal cause is man changes his role from a steward to a predator, from a nurturer to a destroyer. One way for this fatal transition to occur is for man to accept a conceptual division between the body and the soul, between the earthly and the holy. After all, if the human soul can aspire to God's grace without being troubled by the destruction wrought by human hands, what can be wrong in plundering the planet, in destroying the earth and its creatures?

Islam's stand on this point is clear: it does not recognize any schism between the body and the soul. In Islam, spirit and flesh are different aspects of one and the same reality—human life. A Muslim cannot hope for salvation in the " hereafter " if his " here " is torn with strife and greed; he cannot love God in Heaven if he hates His creation on earth.

A Double-Edged Sword

Certain forces tend to favor the rift between the body and the soul. Technology is one. A complex technology places machines in the foreground of human existence and by its inherent dynamism gradually estranges man from nature and from himself. Technology is a double-edged sword and unless tempered by scale and balance can overwhelm man's spiritual consciousness. In the Qur'an it is written: "We bestowed on you from on high the ability to make use of iron, in which there is awesome power as well as a source of benefits for man. " (57.25) The power inherent in natural elements, whether iron or uranium or silicon can, if harnessed for destructive rather than beneficial ends, destroy man's sensitivity towards other creatures. It is to warn man of this danger that the Qur'an symbolically stresses the potential "evil" of iron if put to wrong use.

At one extreme, technology with its attendant mechanization reduces man to a cipher; at the other extreme, it breeds hubris. In Islam, however, knowledge that gives man a false sense of sovereignty over God's creation cannot be pursued or morally defended. Rational inquiry must be shaped by moral and ethical consideration; knowledge is to be sought for glorifying God and for fulfilling man's responsibility towards His trust.

In the sayings and practices of Prophet Muhammad (peace be upon him), Muslims find the embodiment of Qur'anic guidance. Of reforestation and land reclamation, for example, the prophet has said:

— "Whoever plants a tree and diligently looks after it until it matures and bears fruit is rewarded."
— "If a Muslim plants a tree or sows a field and men and beasts and birds eat from it, all of it is charity on his part."
— "Whoever brings dead land to life, that is, cultivates wasteland, for him is a reward therein. "

The Qur'an and the sayings of Prophet Muhammad form the legislative basis of Islamic law. Over the centuries, Muslim scholars have developed legislation regarding animal rights, bodies of water, forests, wildlife, land use, city growth, overgrazing and other aspects of earth's finite resources and their management. Islamic law requires the establishment of areas within which development is prohibited to safeguard natural resources. These areas could border canals, wells and rivers, to protect aquifers and water from pollution. Most forests are designated as wilderness areas where trees cannot be logged. Responsible grazing is fundamental to Islamic environmental law. Pasture, woodland, wildlife and forests cannot be privately owned or monopolized. They are public property, to be managed by the state for the common good of all.

In this Decade of the Environment, public concern over such phenomena as the greenhouse effect, ozone holes, acid rain, and the extinction of species builds upon that which followed publication in the 1960s of Rachel Carson's Silent Spring, which made ecology a household word. An international effort is now underway to confront environmental ills that plague the earth. Sadly, the Muslim involvement remains reactive and minimal.

If Muslims are to awaken to the challenge of preserving the global ecosystem, modern Islamic scholars must illuminate the ecological principles of the Qur'an as they apply to contemporary environmental issues. The world now is undoubtedly more complex than it was a thousand years ago when the industrial revolution had not yet taken place and the earth's resources had not yet been strained. Some Islamic environmental laws formulated at the height of Muslim civilization may now appear inadequate and simplistic. The point, however, is that human laws are time bound, while divine guidance is timeless. "Corruption has appeared on land and sea as an outcome of what men's hands have wrought: and so He will let them taste the evil of some of their doings, so that they might return to the right path. " states a Qur'anic verse (30:4 1), implying that destruction of the natural environment follows from immoral and unethical use of natural resources.

The challenge facing Muslim scholars and scientists is to formulate on the basis of such Qur'anic teachings laws that address environmental issues in the modern context, from deforestation and soil erosion to drought and flood, from the carrying capacity of a habitat to a land ethic, from the application of technology to the preservation of community and culture, from greenhouse effect to acid rain, from nuclear power to genetic engineering, from population and poverty to North-South equity, from stewardship to sustainable development.

The Qur'an teaches that human need cannot justify transgressing the legitimate needs of other species. Man is dependent on a world he did not create, and therefore has no right to destroy. In the web of life, the smallest organism counts. "Mastery of nature, " with its implied one-sided benefits for man, is a concept foreign to Islam. Inherent in Qur'anic teaching is the notion that ecology is farsighted economics, that in the deepest sense, ecology is religion. These ideas need to be made clear so that Muslims can bind action to principle and ecology to faith. Towards that end, Muslims await a new generation of scholars who will inspire them not only with knowledge and wisdom but also with strength and eloquence of the pen to act on the pressing ecological issues of their times.


Dr. Hasan Zillur Rahim is a Bangladesh born American physicist presently working as a software engineer in Northern California. He also is editor of IQRA, the bimonthly newsletter of the South Bay Islamic Association, in San Jose, CA.

from:www.islamonline.net

เยือน ‘ดาลอ’ ปอเนาะ 106 ปี หัวใจการศึกษาบนวิถีมุสลิม

โดย ธนก บังผล
ศูนย์ข่าวอิศรา

การที่ยกความผิดให้กับระบบการเรียนการสอนของโรงเรียนปอเนาะนั้น เป็นคำพูดที่ทำให้ชาวมุสลิมเสียความรู้สึกอย่างที่สุด เพราะปอเนาะคือหัวใจของชาวมุสลิม มีวิถีการสอนเดินไปในทางที่ถูกต้องมา 500 กว่าปี แต่เวลาการบริหารประเทศเพียง 5 ปี กลับสั่นคลอนความมั่นคงได้มากถึงเพียงนี้ น่าคิดว่าปัญหาความรุนแรงเกิดจากปอเนาะหรือ “ใคร”...

“ทหารเข้ามาขวางเราแล้วถามว่ารอให้เช้าก่อนไม่ได้หรือค่อยออกไปละหมาด เขาไม่รู้วัฒนธรรมของเราว่าต้องละหมาดซูโอ๊ะก่อนตะวันขึ้น ฮากันตรึม” บาบอการีม โต๊ะครูแห่งโรงเรียนปอเนาะดาลอ หยอดอารมณ์ขันแต่แฝงด้วยความคันที่อยากระบายมานาน

ความ จริงการนำทหารมาคุ้มครองดูแลพี่น้องชาวมุสลิมกลับไม่มีประโยชน์อย่าง ที่ควรจะเป็น เพราะนอกจากทหารจะไม่รู้ไม่เข้าใจอะไรเลยเกี่ยวกับวิถีการปฏิบัติของศาสนา อิสลามแล้ว การมีทหารอยู่ยังทำให้คนในพื้นที่รู้สึกว่าไม่ปลอดภัยอีกด้วย ยิ่งข่าวที่ปิดไม่มิดว่าทหารทำชาวบ้านท้องนั้น ดูจะสร้างระยะห่างระหว่างชาวบ้านกับทหารให้มากขึ้น ความไว้เนื้อเชื่อใจก็ลดลง แม้ทหารที่นอกคอกจะเป็นเพียงแกะดำส่วนน้อยก็ตาม

นอกจากวัฒนธรรมในพื้นที่แล้ว เจ้าหน้าที่รัฐควรลดความระแวงในคนไทยด้วยกัน เรื่องที่ชาวบ้านไปละหมาดปฏิบัติธรรมในมัสยิด กลับถูกมองว่าซ่องสุมปลุกระดมให้เป็นศัตรูกับรัฐ เพียงเพราะเจ้าหน้าที่ของรัฐฟังภาษาอาหรับและมลายูไม่รู้เรื่อง จึงเหมามั่วไปหมด


“บาบอการีม” โต๊ะครูผู้ดูแลโรงเรียนปอเนาะดาลอ มาเป็นรุ่นที่ 3 แทนเจ้าของเก่าที่มีศักดิ์เป็นพ่อตา วันนี้มีหน้าที่ต้องแบกรับภาระอันหนักอึ้งในการนำพาโรงเรียนปอเนาะดาลอ ผ่านพ้นคลื่นอคติในรัฐบาลชุดนี้ไปให้ได้ เพื่อพิสูจน์ให้คนทั้งประเทศเห็นว่าแท้จริงแล้ว ปอเนาะคืออะไร

โรงเรียน ปอเนาะดาลอ อยู่ในพื้นที่กว่า 20ไร่ เขตอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ดำรงสภาพการเป็นโรงเรียนมาแล้ว 106 ปี ไม่เคยมีรั้วรอบขอบชิด สามารถเข้าออกได้ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นแหล่งผลิตผู้แตกฉานทางศาสนามาแล้วหลายคน ได้รับการยอมรับจากชาวมุสลิมว่าเป็นโรงเรียนปอเนาะที่ยังสามารถรักษาระบบการศึกษาที่มีมากว่า 500 ปีได้ดั้งเดิมสมบูรณ์ที่สุดในภาคใต้

แต่วันนี้โรงเรียนปอเนาะถูกกล่าวหาว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะผลิตผู้ก่อความ ไม่สงบ รวมถึงตกเป็นเป้าเพ่งเล็งว่าค้าขายและสั่งสมอาวุธสงคราม ความอึดอัดที่ถูกรัฐยัดเยียดดังกล่าว เปรียบเสมือนรัฐกำลังก่อกำแพงกั้นความเป็นคนไทยไว้เสียแต่ในเมืองหลวงเท่านั้น

“เราเสียใจ และไม่รู้จะอธิบายกับเพื่อนร่วมชาติว่าอย่างไร” โต๊ะครูกล่าวอย่างไร้ความหวัง “ปฏิเสธไม่ได้ว่าสายตาจากคนภายนอกพื้นที่มองมาอย่างไม่สนิทใจ เนื่องจากถ้าใครต่างก็โยนความผิดให้ชาวมุสลิมว่าเป็นผู้ก่อเหตุ มันก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ว่าต้องเป็นคนที่เคยเรียนปอเนาะ”

หลายคนเชื่อว่าน่าจะมีกระบวนการทางการเมือง ที่ต้องการทำให้คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเยาวชนที่ปอเนาะจำเป็นต้องมีความคิด ที่รุนแรงทุกคน หากได้สัมผัสบรรยากาศการเรียนรู้ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิตของคนที่มาเรียนศาสนาในปอเนาะดาลอ แม้เพียงครั้งเดียว อาจจะทำให้รู้สึกถึงความแตกต่างจากภาพที่ได้ถูกนำเสนอเพียงด้านเดียวมาตลอด โดยสิ้นเชิง

นอกจาก “ปัตตานีดาลุสซาลาม” ที่สื่อความหมายว่า ปัตตานีคือดินแดนแห่งสันติสุขแล้ว ยังมีคำกล่าวของอิสลามิกชนทั่วโลกที่สถาปนาฉายาให้กับดินแดนแห่งนี้ไว้ว่า ปัตตานีคือกระจกเงาและระเบียงแห่งเมกกะ นับเป็นการให้เกียรติอย่างสูงสุดถึงการดำเนินวัตรปฏิบัติที่งดงามยาวนานทาง วัฒนธรรม

หรือแม้กระทั่งคำว่า“กรือเซะ” นั้น สามารถแปลได้ว่า “เม็ดทรายที่ขาวสะอาดดุจอัญมณีไข่มุก” ที่ซึ่งบัดนี้กลับถูกตีค่าให้เป็นเม็ดทรายที่มีรอยด่างพร้อยจากโศกนาฏกรรม ความรุนแรง

“เราไม่ใช่พวกที่ลอยแพมาแล้วเรือ แตกมาเกาะหาดอาศัย ประวัติศาสตร์ของระบบการศึกษาที่มีมายาวนาน คือความบริสุทธิ์ เราเผยแพร่ศาสนาด้วยความจริงใจ สอนเพื่อพระอัลเลาะห์ ไม่จำเป็นต้องมีเงินเดือน ไม่เคยเชิญชวนด้วยใบปลิวให้ใครมาเรียน ไม่มีประกาศนียบัตรให้” บาบอการีมชี้แจง โดยอธิบายระบบการศึกษาของปอเนาะดาลอให้ฟังว่า แต่ละวันในการเรียนการสอนศาสนานั้นจะเน้นอยู่ 5 วิชาหลักๆ คือ “อูซูลุดดีน” ซึ่งเป็นวิชาที่ว่าด้วยเรื่องหลักศรัทธาในพระเจ้าของศาสนาอิสลาม “ฟิกห์” วิชานิติศาสตร์ในกฎหมายอิสลาม “ตะซอวูฟ” ว่าด้วยเรื่องจิตใจ จริยธรรมโดยขัดเกลาสอนให้นักเรียนเป็นผู้มีจิตใจบริสุทธิ์ มีเมตตา ไม่เย่อหยิ่ง “ตัฟเซร์” ที่ต้องเรียนรู้ถึงบทบัญญัติของพระเจ้าทั้งหมด 6,666 โองการ และสุดท้ายคือ “อัลฮาดีซ” การเรียนรู้เกี่ยวกับพระวัจนะของศาสดามะฮัมบีมูฮัมมัด ซึ่งการเรียนต่อเนื่องทุกหน้าจนกว่าจะจบทั้งเล่ม บางวิชาอาจใช้เวลาเรียนกว่า 2 ปี อย่างเช่น หลักวิชาฟิกห์ และ ตัฟเซร์

“หลักศาสนาของเราไม่สนับสนุนความรุนแรง ยิ่งถ้าฆ่าคนด้วยแล้วถือเป็นบาปหนัก ต้องเสียอูฐพันธุ์ดีที่ตั้งท้อง 100 ตัว คิดเป็นเงินประมาณ 6 ล้านบาท แล้วต้องสำนึกในบาปที่ทำลงไปต่อพระเจ้าด้วยใจจริง หรือที่เรียกว่า “เตาบัต” ตีความได้อย่างชัดเจนว่าศาสนาอิสลามไม่เคยสอนให้ฆ่าใครทั้งสิ้น เพราะเราเชื่อว่าทั้งชาวมุสลิมและคนที่นับถือศาสนาอื่นๆ เป็นสิ่งที่พระเจ้าสร้างขึ้นมาทั้งนั้นทำลายไม่ได้”

บาบอการีม วิเคราะห์ความรุนแรงที่กำลังเกิดขึ้นอยู่บนแผ่นดิน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้พอหอมปากหอมคอว่า การ ที่ยกความผิดให้กับระบบการเรียนการสอนของโรงเรียนปอเนาะนั้นเป็นคำพูดที่ ทำให้ชาวมุสลิมเสียความรู้สึกอย่างที่สุด เพราะปอเนาะคือหัวใจของชาวมุสลิม มีวิถีการสอนเดินไปในทางที่ถูกต้องมา 500 กว่าปี แต่เวลาการบริหารประเทศเพียง 5 ปี กลับสั่นคลอนความมั่นคงได้มากถึงเพียงนี้ น่าคิดว่าปัญหาความรุนแรงเกิดจากปอเนาะหรือ “ใคร”

คำพูดบางคำของผู้นำรัฐบาลที่หวังดีต่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดนภาคใต้แต่ กระทบกับความศรัทธาอันละเอียดอ่อนของพี่น้องชาวมุสลิมหลายต่อหลายคำ หลายต่อหลายครั้ง อาจเป็นคำกล่าวที่ไม่ได้ตั้งใจ แต่อย่างน้อยควรคิดให้มากหากจะกล่าวถึงพื้นที่ที่รัฐบาลขีดไว้ให้เป็นสีแดง

เด็กตัวเล็กเจื้อยแจ้วใส่ “กาปิเย๊าะ”(หมวกครอบศีรษะ)วิ่งเล่นรอบต้นไม้ใหญ่ บ้างก็แข่งปั่นลูกข่าง พักผ่อนท่ามกลางแสงแดดที่ร้อนจ้า หลังเสร็จสิ้นภารกิจปฏิบัติธรรมทางศาสนาไปอีกวัน วันข้างหน้าเด็ก หลายๆคนที่จบจากปอเนาะดาลอแห่งนี้ อาจจะเติบโตเป็นโต๊ะครู หรือโต๊ะอิหม่าม สืบสานการเผยแพร่ศาสนาต่อไปรุ่นแล้วรุ่นเล่า เสียงโหวกเหวกของเด็กๆดังลั่นตามท้ายรถที่ค่อยๆคืบคลานออกจากปอเนาะ ฟังได้ความว่า
“ซือลามัต ญาลัน”...ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ